เที่ยวเมืองไทย สุขใจที่บ้านเรา
Tourism Industry Dpu002
- Thirarat Suadee
- เลขทะเบียน 530105030098 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม
วัดเทพประธานอธิพร
บทที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางของนักท่องเที่ยว
แรงจูงใจในวิชาจิตวิทยา เป็นตัวกำหนดบุคลิกภาพของบุคคล แบ่งเป็น
- แรงจูงใจในวิชาจิตวิทยา
- แรงจูงใจทางด้านการท่องเที่ยว เป็นแนวคิดผสมระหว่างแนวคิดทางจิตวิทยา พลังจูงใจทางด้านจิตวิทยา
- แรงจูงใจทางด้านการพักผ่อน เช่น นักท่องเที่ยวจากสวีเดนที่มาพักผ่อนที่เกาะสมุยเป็นหลัก
พลังด้านสังคมวิทยา
- การเลือกมาพักผ่อนยังเกาะสมุย
- ความมีหน้ามีตาทางสังคม
- ความสามารถในการเดินทาง
ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
1.ทฤษฎีลำดับขั้นแห่งความต้องการจำเป็น (Hierarchy of needs ของ Abraham Maslow)
- Maslow กล่าวว่า มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีความต้องการที่ไม่มีวันจบสิ้น (wanting animal)
Lundberg (Lundlerg,Tourism Business P127) เชื่อว่าพฤติกรรมการท่องเที่ยวเกิดจากความต้องการอันสูงสุดของตน
ได้แก่ ความต้องการที่จะพัฒนาศักยภาพของตนอย่างเต็มที่
2.ทฤษฎีขั้นบันไดแห่งหารเดินทาง (Travel Career Ledder)
- Philip Peance ประยุกต์จากทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการจำเป็นของ Maslow
3.แรงจูงใจวาระซ่อนเร้น (Hidden)
แนวโน้มแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว 10 ประการ โดย Pearce,Morrisom,Rutledge <1998>
1.แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่งแวดล้อม
2.แรงจูงใจที่จะได้พบปะกับคนในท้องถิ่น
3.แรงจูงใจที่จเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นและประเทศเจ้าบ้าน
4.แรงจูงใจที่จะเสริมสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว
5.แรงจูงใจที่จะพักผ่อนในสภาพแวดล้อมที่สบาย ชายทะเลที่มีหาดทรายกับแสงแดด
6.แรงจูงใจที่จะได้ทำกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจและฝึกทักษะ
7.แรงจูงใจที่จะมีสุขภาพดี
8.แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มกันและความปลอดภัยจากโรคภัยและผู้ก่อการร้าย
9.แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับสถานภาพทางสังคม
10.แรงจูงใจที่จะให้รางวัลแก่ตัวเอง การกิน การดื่ม การซื้อของ เพื่อฉลองความสำเร็จต่าง ๆ
Back packer คือนักท่องเที่ยวประเภทสะพายเป้ จะมีจุดประสงค์มายังประเทศอื่น ๆ 4 ด้านคือ1.การหลีกหนี (Escape)
2.การมุ่งเน้นในเรื่องส่งแวดล้อม
3.การทำงาน (Employment)
4.เน้นการคบหาสมาคม (Social Focus)
โครงสร้างพื้นฐานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว หมายถึง องค์ประกอบพื้นฐานในการรองรับการท่องเที่ยวทั้งระบบ ถือเป็นส่วนการสนับสนุนให้การท่องเที่ยว
- แรงจูงใจในวิชาจิตวิทยา
- แรงจูงใจทางด้านการท่องเที่ยว เป็นแนวคิดผสมระหว่างแนวคิดทางจิตวิทยา พลังจูงใจทางด้านจิตวิทยา
- แรงจูงใจทางด้านการพักผ่อน เช่น นักท่องเที่ยวจากสวีเดนที่มาพักผ่อนที่เกาะสมุยเป็นหลัก
พลังด้านสังคมวิทยา
- การเลือกมาพักผ่อนยังเกาะสมุย
- ความมีหน้ามีตาทางสังคม
- ความสามารถในการเดินทาง
ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
1.ทฤษฎีลำดับขั้นแห่งความต้องการจำเป็น (Hierarchy of needs ของ Abraham Maslow)
- Maslow กล่าวว่า มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีความต้องการที่ไม่มีวันจบสิ้น (wanting animal)
Lundberg (Lundlerg,Tourism Business P127) เชื่อว่าพฤติกรรมการท่องเที่ยวเกิดจากความต้องการอันสูงสุดของตน
ได้แก่ ความต้องการที่จะพัฒนาศักยภาพของตนอย่างเต็มที่
2.ทฤษฎีขั้นบันไดแห่งหารเดินทาง (Travel Career Ledder)
- Philip Peance ประยุกต์จากทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการจำเป็นของ Maslow
3.แรงจูงใจวาระซ่อนเร้น (Hidden)
แนวโน้มแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว 10 ประการ โดย Pearce,Morrisom,Rutledge <1998>
1.แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่งแวดล้อม
2.แรงจูงใจที่จะได้พบปะกับคนในท้องถิ่น
3.แรงจูงใจที่จเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นและประเทศเจ้าบ้าน
4.แรงจูงใจที่จะเสริมสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว
5.แรงจูงใจที่จะพักผ่อนในสภาพแวดล้อมที่สบาย ชายทะเลที่มีหาดทรายกับแสงแดด
6.แรงจูงใจที่จะได้ทำกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจและฝึกทักษะ
7.แรงจูงใจที่จะมีสุขภาพดี
8.แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มกันและความปลอดภัยจากโรคภัยและผู้ก่อการร้าย
9.แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับสถานภาพทางสังคม
10.แรงจูงใจที่จะให้รางวัลแก่ตัวเอง การกิน การดื่ม การซื้อของ เพื่อฉลองความสำเร็จต่าง ๆ
Back packer คือนักท่องเที่ยวประเภทสะพายเป้ จะมีจุดประสงค์มายังประเทศอื่น ๆ 4 ด้านคือ1.การหลีกหนี (Escape)
2.การมุ่งเน้นในเรื่องส่งแวดล้อม
3.การทำงาน (Employment)
4.เน้นการคบหาสมาคม (Social Focus)
โครงสร้างพื้นฐานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว หมายถึง องค์ประกอบพื้นฐานในการรองรับการท่องเที่ยวทั้งระบบ ถือเป็นส่วนการสนับสนุนให้การท่องเที่ยว
บทที่ 2 ประวัติศาสตร์ของการท่องเที่ยวจากยุคเริ่มต้นถึงช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
การท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจสามารถสืบย้อนได้ไปถึงสมัยที่ยังมีอาณาจักร Babylonian และอาณาจักร Egyptian หลักฐานการกล่าวอ้างนี้คือ ได้มีการก่อตั้งพิพิทธภัณฑ์โบราณวัตถุ เมื่อประมาณ 2,600 ปีมาแล้ว ได้เคยมีการค้นพบข้อความที่นักเดินทาง ชาวอียิปต์บันทึกไว้เมื่อกว่า 2000 ปีก่อนคริสตกาลด้วย
วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
- อาณาจักรบาบิโลน (Babylonian Kingdom)
- อาณาจักรอียิปต์ (Egyptian Kingdom)
จักรวรรดิกรีกและจักรวรรดิโรมัน
1.เป็นการปกครองแบบนครรัฐ (City State)
2.เชื่อกันว่าเป็นที่สิงสถิตของเทพเจ้า
3.เดินทางเพื่อแสวงหาความรู้ เนื่องจากสมัยกรีกมีนักปราชญ์เป็นจำนวนมาก อาทิ อริสโตเติล พลาโต โซเครติส
4.เพื่อการกีฬาโดยเฉพาะในกรุงเอเธนส์
สมัยโรมัน
เป็นสมัยที่การท่องเที่ยวรุ่งเรืองที่สุดในยุคโบราณ จนมีนักวิชาการกล่าวว่า แม้ว่าชาวโรมันจะมิใช่ชาติแรกที่เดินทางไปเยี่ยมชมเพื่อความเพลิดเพลินก็ตาม แต่ชาวโรมันก็เป็นชาติแรกที่แท้จริงที่สร้างวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเฃระบบมวลชนเป็นครั้งแรก
ยุคกลางหรือยุคมีด (Middle Age or Dark Age)
1.เป็นยุคที่เศรษฐกิจตกต่ำ ศาสนาเข้ามามีบทบาทในการกำหนดการดำเนินชีวิตของผู้คน
2.วันหยุด (holiday) เข้ามามีบทบาทมากขึ้น
3.คนชั้นกลางและชั้นสูงนิยมเดินทางเพื่อแสวงบุญ ในระยะทางไกลในเมืองต่าง ๆ ตามหลักฐานปรากฏเป็นนิทานเรื่อง Canterbury's tales
4.การเฟื่องฟูของอาชีพมัคคุเทศก์
ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
ลักษณะสำคัญของการท่องเที่ยวในยุคนี้ คือ
1.เกิดการพัฒนาทางด้านการค้า
2.ผู้คนเริ่มใฝ่รู้เกี่ยวกับเรื่องของยุโรปสมัยก่อน โดยเฉพาะชาวอังกฤษที่ร่ำรวย นิยมส่งบุตรชายเดินทางไปต่างประเทศพร้อมผู้สอนประจำตัว เป็นระยะเวลา 3 ปี เรียกว่า แกรนด์ทัวร์ โดยมีจุดมุ่งหมายที่ประเทศอิตาลี
3.อาจเรียกแกรนด์ทัวร์ว่าเป็นการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาก็ได้
สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18-19
1.สังคมเริ่มเปลี่ยนจากเกษตรกรรมมาเป็นอุตสาหกรรม เกิดการล่าอาณานิคมขึ้น
2.ที่พักแรมได้รับการพัฒนาตามลำดับ กลายมาเป็นโรงงานแทนที่ inns ต่าง ๆ
3.การโยกย้ายถิ่นฐาน ไปยังดินแดนใหม่ ๆ นอกยุโรป อาทิ ไปอเมริกา
4.มีการพัฒนาประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ำ กับเรือกลไปแบบกังหันข้างผสมใบ ทำให้เกิดการเดินทางได้รวดเร็ว
5.มีการพัฒนากิจการรถไฟ และในปี ค.ศ. 1841 โทม้ส คุก ได้จัดนำเที่ยวทางรถไฟแบบครบวงจรเป็นครั้งแรกที่ประเทศอังกฤษ
สมัยยุคศตวรรษที่ 20
1.ผู้คนหันมานิยมการเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัวมากขึ้น ทำให้การเดินทางโดยรถไฟลดน้อยลง
2.การพัฒนาของอุตสาหกรรมการบินที่เริ่มขึ้นในยุโรป ปีค.ศ.1919 และเริ่มขนส่งผู้โดยสารในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
3.ช่วงหลังสงครามโลก ผู้คนออกเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเยี่ยมชมสถานที่สำคัญ ทางการสงคราม อาทิ หาดนอร์มังดีฝรั่งเศษ
วิวัฒนาการการท่องเที่ยวของไทย
-สมัยสุโขทัย
1.การเดินทางเป็นไปอย่างอิสรเสรี โดยส่วนมากเป็นไปเพื่อการค้าขายและทางศาสนา
2.ส่วนมากเป็นการเดินทางภายในประเทศ
-สมัยอยุธยา
1.เนื่องจากเป็นอาณาจักรใหญ่ และระบบสังคมเป็นแบบศักดินา ผู้คนไม่ค่อยมีอิสระในการเดินทางมากนัก นอกจากไปเพื่อการค้าเล็ก ๆ น้อย ๆ ส่วนด้านการเดินทางเพื่อการพักผ่อนไม่ค่อยปรากฏ เพราะประชาชนส่วนใหญ๋ไม่ว่างมากนัก มักอยู่กับบ้านมากกว่า
2.มีการปรับปรุงเส้นทางทางน้ำเพื่อการคมนาคม พร้อมทั้งเส้นทางทางบก เพื่อความสะดวกสบายทางด้านการค้าเป็นหลัก และเพื่อการเดินทาง
3.กลุ่มคนที่มีการเดินทางในสมัยอยุธยา ส่วนใหญ่จะเป็นชนชั้นปกครอง ตั้งแต่พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ และบรรณาขุนนางทั้งหลาย ในบางคร้ังจะมีไพร่หลวงติดตามไปรับใช้เช่นกัน
ในประมาณปี ค.ศ.1511 โปรตุเกสเป็นชาติตะวันตกชาติแรกที่เดินทางเข้ามายังอาณาจักรอยุธยา
ผลจากการเดินทางเข้ามาของชาวต่างชาติในสมัยอยุธยา
ทำให้เกิดความเป็นมานาๆ ชาติในพระนครศรีอยุธยามากขึ้น ทำให้เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมและประเพณีต่าง ๆ ทั้งของตะวันตกและของไทย ที่น่าสนใจคือมีการบันทึกการเดินทางของชาวตะวันตก ที่เขียนเอาไว้เกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทาง สถานที่ต่าง ๆ ในอาณาจักรอยุธยา แล้วนำกลับไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่ตะวันตก ก่อให้เกิดการเดินทางเข้ามายังเอเซียและอยุธยามากขึ้น ในฐานะที่อยุธยาเป็นดินแดนแห่งสินค้าเครื่องเทศ
วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
- อาณาจักรบาบิโลน (Babylonian Kingdom)
- อาณาจักรอียิปต์ (Egyptian Kingdom)
จักรวรรดิกรีกและจักรวรรดิโรมัน
1.เป็นการปกครองแบบนครรัฐ (City State)
2.เชื่อกันว่าเป็นที่สิงสถิตของเทพเจ้า
3.เดินทางเพื่อแสวงหาความรู้ เนื่องจากสมัยกรีกมีนักปราชญ์เป็นจำนวนมาก อาทิ อริสโตเติล พลาโต โซเครติส
4.เพื่อการกีฬาโดยเฉพาะในกรุงเอเธนส์
สมัยโรมัน
เป็นสมัยที่การท่องเที่ยวรุ่งเรืองที่สุดในยุคโบราณ จนมีนักวิชาการกล่าวว่า แม้ว่าชาวโรมันจะมิใช่ชาติแรกที่เดินทางไปเยี่ยมชมเพื่อความเพลิดเพลินก็ตาม แต่ชาวโรมันก็เป็นชาติแรกที่แท้จริงที่สร้างวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเฃระบบมวลชนเป็นครั้งแรก
ยุคกลางหรือยุคมีด (Middle Age or Dark Age)
1.เป็นยุคที่เศรษฐกิจตกต่ำ ศาสนาเข้ามามีบทบาทในการกำหนดการดำเนินชีวิตของผู้คน
2.วันหยุด (holiday) เข้ามามีบทบาทมากขึ้น
3.คนชั้นกลางและชั้นสูงนิยมเดินทางเพื่อแสวงบุญ ในระยะทางไกลในเมืองต่าง ๆ ตามหลักฐานปรากฏเป็นนิทานเรื่อง Canterbury's tales
4.การเฟื่องฟูของอาชีพมัคคุเทศก์
ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
ลักษณะสำคัญของการท่องเที่ยวในยุคนี้ คือ
1.เกิดการพัฒนาทางด้านการค้า
2.ผู้คนเริ่มใฝ่รู้เกี่ยวกับเรื่องของยุโรปสมัยก่อน โดยเฉพาะชาวอังกฤษที่ร่ำรวย นิยมส่งบุตรชายเดินทางไปต่างประเทศพร้อมผู้สอนประจำตัว
3.อาจเรียกแกรนด์ทัวร์ว่าเป็นการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาก็ได้
สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18-19
1.สังคมเริ่มเปลี่ยนจากเกษตรกรรมมาเป็นอุตสาหกรรม เกิดการล่าอาณานิคมขึ้น
2.ที่พักแรมได้รับการพัฒนาตามลำดับ กลายมาเป็นโรงงานแทนที่ inns ต่าง ๆ
3.การโยกย้ายถิ่นฐาน ไปยังดินแดนใหม่ ๆ นอกยุโรป อาทิ ไปอเมริกา
4.มีการพัฒนาประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ำ กับเรือกลไปแบบกังหันข้างผสมใบ ทำให้เกิดการเดินทางได้รวดเร็ว
5.มีการพัฒนากิจการรถไฟ และในปี ค.ศ. 1841 โทม้ส คุก
สมัยยุคศตวรรษที่ 20
1.ผู้คนหันมานิยมการเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัวมากขึ้น ทำให้การเดินทางโดยรถไฟลดน้อยลง
2.การพัฒนาของอุตสาหกรรมการบินที่เริ่มขึ้นในยุโรป ปีค.ศ.1919 และเริ่มขนส่งผู้โดยสารในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
3.ช่วงหลังสงครามโลก ผู้คนออกเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเยี่ยมชมสถานที่สำคัญ ทางการสงคราม อาทิ หาดนอร์มังดีฝรั่งเศษ
วิวัฒนาการการท่องเที่ยวของไทย
-สมัยสุโขทัย
1.การเดินทางเป็นไปอย่างอิสรเสรี โดยส่วนมากเป็นไปเพื่อการค้าขายและทางศาสนา
2.ส่วนมากเป็นการเดินทางภายในประเทศ
-สมัยอยุธยา
1.เนื่องจากเป็นอาณาจักรใหญ่ และระบบสังคมเป็นแบบศักดินา ผู้คนไม่ค่อยมีอิสระในการเดินทางมากนัก นอกจากไปเพื่อการค้าเล็ก ๆ น้อย ๆ ส่วนด้านการเดินทางเพื่อการพักผ่อนไม่ค่อยปรากฏ เพราะประชาชนส่วนใหญ๋ไม่ว่างมากนัก มักอยู่กับบ้านมากกว่า
2.มีการปรับปรุงเส้นทางทางน้ำเพื่อการคมนาคม พร้อมทั้งเส้นทางทางบก เพื่อความสะดวกสบายทางด้านการค้าเป็นหลัก และเพื่อการเดินทาง
3.กลุ่มคนที่มีการเดินทางในสมัยอยุธยา ส่วนใหญ่จะเป็นชนชั้นปกครอง ตั้งแต่พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ และบรรณาขุนนางทั้งหลาย ในบางคร้ังจะมีไพร่หลวงติดตามไปรับใช้เช่นกัน
ในประมาณปี ค.ศ.1511 โปรตุเกสเป็นชาติตะวันตกชาติแรกที่เดินทางเข้ามายังอาณาจักรอยุธยา
ผลจากการเดินทางเข้ามาของชาวต่างชาติในสมัยอยุธยา
ทำให้เกิดความเป็นมานาๆ ชาติในพระนครศรีอยุธยามากขึ้น ทำให้เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมและประเพณีต่าง ๆ ทั้งของตะวันตกและของไทย ที่น่าสนใจคือมีการบันทึกการเดินทางของชาวตะวันตก ที่เขียนเอาไว้เกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทาง สถานที่ต่าง ๆ ในอาณาจักรอยุธยา แล้วนำกลับไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่ตะวันตก ก่อให้เกิดการเดินทางเข้ามายังเอเซียและอยุธยามากขึ้น ในฐานะที่อยุธยาเป็นดินแดนแห่งสินค้าเครื่องเทศ
บทที่ 1 ความหมาย ความสำคัญของการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง แต่การเดินทางไม่ใช่การท่องเที่ยวเสมอไป ดังนั้นจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ควรจะรู้จักถึงความหมายของการท่องเที่ยวซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้อย่างมหาศาลให้แก่ประเทศ
- ความหมายของการท่องเที่ยว
Word Tourism Organization,WTO ได้ว่าการเดินทางที่จัดเป็นการท่องเที่ยวต้องมีลักษณะดังนี้
1.เป็นการเดินทางจากที่อยู่อาศัยปกติไปยังที่อื่นเป็นการชั่วคราว
2.เป็นการเดินทางด้วยความสมัครใจ
3.เป็นการเดินทางด้วยจุดประสงค์ใด ๆ ก็ตามที่ไม่ใช่เพื่อการธุรกิจและหารายได้
โดยนิยามความหมายของการท่องเที่ยวที่มาจากการประชุมในปี พ.ศ.2506 นั้นที่ประชุมได้ให้คำนิยามเรียกผู้ที่เดินทางเพื่อการท่องเที่ยวว่า ผู้มาเยือน
- การจำแนกประเภทของนักท่องเที่ยว
1.นักท่องเที่ยว(Tourist)ผู้มาเยือนชั่วคราวต้องอยู่ให้มากกว่า 24 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 1 ปี
2.นักทัศนาจร(Excursionist)อยู่สถานที่นั้นน้อยกว่า 24 ชั่วโมง ไม่ค้องคืน
- ผู้มาเยือน แบ่งเป็น
1.ผู้มาเยือนขาเข้า (Inbound visitor)
2.ผู้มาเยือนขาออก (Outbound visitor)
3.ผู้มาเยือนภายในประเทศ (Domestic visitor)
- วัตถุประสงค์ของการเดินทางท่องเที่ยว แบ่งเป็นหลักใหญ่ ๆ
1.การท่องเที่ยวเพื่อความสนุกสนานและพักผ่อน (Holiday)
ความเพลิดเพลิน สนุกสนาน เป็นจุดมุ่งหมายหลักของการท่องเที่ยว ดังนั้นจึงพยายามไม่เอาหน้าที่การงาน ความจำเจของชีวิตที่เกี่ยวข้อง เช่น การเดินทางไปอาบแดด การเดินทางไปเยี่ยมเพื่อน ญาติมิตร
2.การท่องเที่ยวเพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ (Business)
แม้ว่าการท่องเที่ยวทางธุรกิจ จะมีจุดมุ่งหมายในการทำงานนั้นเป็นเพียงการสร้างรายได้ในอนาคต
การเดินทางเพื่อธุรกิจโดยทั่วไป
การเดินทางเพื่อการประชุม การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล สัมมนา และนิทรรศการนานาชาติ (MICE)
3.การท่องเที่ยวที่มีความสนใจเป็นพิเศษ (Specoal Interest Tourism : SIT)
เป็นการตอบสนองความต้องการ ของนักท่องเที่ยวในระดับที่ซับซ้อนมากขึ้น
- ลักษณะของการเดินทาง
1.การเดินทางเป็นหมู่คณะ (Group Inclusive Tour:GIT)
- กรุ๊ปเหมา
- กรุ๊ปจัด
2.การท่องเที่ยวแบบอิสระ (Foreign Inclusive Tourism:FIT)
- Package Tour
- วัตถุประสงค์ของการเดินทาง
เพื่อสนุกสนาน เพลิดเพลิน
ธุรกิจ
วัตถุประสงค์พิเศษ เช่น เชิงนิเวช วัฒนธรรม
- การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
เป็นการท่องเทียวเพื่อต้องการศึกษาวัฒนธรรมของประเทศหรือสถานที่ที่ตนเองไปเยี่ยมเยือน เพราะวัฒนธรรมเหล่านั้นมีความแตกต่างไปจากวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งโดยส่วนมากมักจะเป็นสิ่งที่จับต้องได้ มองเห็น เป็นวัตถุหรือเป็นการแสดง เป็นต้น
- การท่องเที่ยวเชิงกีฬาและสุขภาพ
มีจุดมุ่งหมายเพื่อบำบัดโรค บำรุงสุขภาพกายและใจ อาจแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
1.การท่องเทียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism)
2.การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport Tourism)
3.การท่องเที่ยว่เชิงผจญภัย (Adventure Tourism)
***************************************************************
- ความหมายของการท่องเที่ยว
Word Tourism Organization,WTO ได้ว่าการเดินทางที่จัดเป็นการท่องเที่ยวต้องมีลักษณะดังนี้
1.เป็นการเดินทางจากที่อยู่อาศัยปกติไปยังที่อื่นเป็นการชั่วคราว
2.เป็นการเดินทางด้วยความสมัครใจ
3.เป็นการเดินทางด้วยจุดประสงค์ใด ๆ ก็ตามที่ไม่ใช่เพื่อการธุรกิจและหารายได้
โดยนิยามความหมายของการท่องเที่ยวที่มาจากการประชุมในปี พ.ศ.2506 นั้นที่ประชุมได้ให้คำนิยามเรียกผู้ที่เดินทางเพื่อการท่องเที่ยวว่า ผู้มาเยือน
- การจำแนกประเภทของนักท่องเที่ยว
1.นักท่องเที่ยว(Tourist)ผู้มาเยือนชั่วคราวต้องอยู่ให้มากกว่า 24 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 1 ปี
2.นักทัศนาจร(Excursionist)อยู่สถานที่นั้นน้อยกว่า 24 ชั่วโมง ไม่ค้องคืน
- ผู้มาเยือน แบ่งเป็น
1.ผู้มาเยือนขาเข้า (Inbound visitor)
2.ผู้มาเยือนขาออก (Outbound visitor)
3.ผู้มาเยือนภายในประเทศ (Domestic visitor)
- วัตถุประสงค์ของการเดินทางท่องเที่ยว แบ่งเป็นหลักใหญ่ ๆ
1.การท่องเที่ยวเพื่อความสนุกสนานและพักผ่อน (Holiday)
ความเพลิดเพลิน สนุกสนาน เป็นจุดมุ่งหมายหลักของการท่องเที่ยว ดังนั้นจึงพยายามไม่เอาหน้าที่การงาน ความจำเจของชีวิตที่เกี่ยวข้อง เช่น การเดินทางไปอาบแดด การเดินทางไปเยี่ยมเพื่อน ญาติมิตร
2.การท่องเที่ยวเพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ (Business)
แม้ว่าการท่องเที่ยวทางธุรกิจ จะมีจุดมุ่งหมายในการทำงานนั้นเป็นเพียงการสร้างรายได้ในอนาคต
การเดินทางเพื่อธุรกิจโดยทั่วไป
การเดินทางเพื่อการประชุม การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล สัมมนา และนิทรรศการนานาชาติ (MICE)
3.การท่องเที่ยวที่มีความสนใจเป็นพิเศษ (Specoal Interest Tourism : SIT)
เป็นการตอบสนองความต้องการ ของนักท่องเที่ยวในระดับที่ซับซ้อนมากขึ้น
- ลักษณะของการเดินทาง
1.การเดินทางเป็นหมู่คณะ (Group Inclusive Tour:GIT)
- กรุ๊ปเหมา
- กรุ๊ปจัด
2.การท่องเที่ยวแบบอิสระ (Foreign Inclusive Tourism:FIT)
- Package Tour
- วัตถุประสงค์ของการเดินทาง
เพื่อสนุกสนาน เพลิดเพลิน
ธุรกิจ
วัตถุประสงค์พิเศษ เช่น เชิงนิเวช วัฒนธรรม
- การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
เป็นการท่องเทียวเพื่อต้องการศึกษาวัฒนธรรมของประเทศหรือสถานที่ที่ตนเองไปเยี่ยมเยือน เพราะวัฒนธรรมเหล่านั้นมีความแตกต่างไปจากวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งโดยส่วนมากมักจะเป็นสิ่งที่จับต้องได้ มองเห็น เป็นวัตถุหรือเป็นการแสดง เป็นต้น
- การท่องเที่ยวเชิงกีฬาและสุขภาพ
มีจุดมุ่งหมายเพื่อบำบัดโรค บำรุงสุขภาพกายและใจ อาจแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
1.การท่องเทียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism)
2.การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport Tourism)
3.การท่องเที่ยว่เชิงผจญภัย (Adventure Tourism)
บรรยากาศการท่องเที่ยวตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง
ตลาดน้ำบางน้ำผึ้งมีแนวความคิดมาจากตลาดน้ำ ซึ่งเป็นวิถีชาวบ้านที่มีมาเมื่อประมาณ 40 กว่าปีที่ผ่านมา ในสมัยก่อนการคมนาคมจะใช้การสัญจรทางน้ำเป็นเส้นทางสำคัญ เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา มีลำคลองอยู่ทั่วไป ซึ่งแต่ละคลองจะเชื่อมต่อกับแม่น้ำเจ้าพระยา ในอดีตชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวนผลไม้ ดินจะมีความอุดมสมบูรณ์มาก น้ำท่าบริบูรณ์ดี ทำให้ผลผลิตออกมาจำนวนมากมาย อาทิเช่น มะม่วง มะพร้าว หมาก กล้วย มะนาว เป็นต้น ชาวบ้านจึงได้รวมตัวกันนำสินค้าใส่เรือมาจำหน่ายที่ปากคลองทำให้เกิดเป็นตลาดน้ำขึ้น
คุณยายท่านนี้ทำขนมขายมานานนับ 10 ปี ได้แก่ ขนมขี้หนูและขนมปุยฝ้าย
สิ่งประดิษฐ์ประจำตำบลแห่งนี้ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากลูกจากต้นตีนเป็ด
เครื่องใช้ที่เป็นการลงลาย
ร้านขายดอกไม้และกล้วยไม้
บริเวณนี้ได้เป็นจุดรวมของร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ
ร้านขนมลูกชุบ
บรรยากาศร้านค้าต่าง ๆ
ผ้าไหมไทยที่ชาวบ้านทอเอง
นี่ นี่ มีแอบถ่ายรูปบ้างเล็กน้อย
นี่คือร้านข้าวแกงทอด ก็มีข้าวผัดปลาเค็ม ข้าวผัดปู ข้าวน้ำพริกกะปิทอด
ตุ๊กตาที่ทำมาจากเครื่องปั้นดินเผานะ สวยมาก มากเลย
ร้านนี้ขายน้ำมันมะพร้าวน้ำหอมซึ่งคนในสวนเป็นคนปลูกเอง
ขนมไทยชาววังที่หากินได้ยากมากแล้ว เช่นสำปันณี ทองเอก จ่ามงกุฏ เสน่ห์จันทร์ ราคาขายก็ชิ้นละ 2 บาทฯลฯ
ท่าเรือข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ค่าโดยสารคนละ 4 บาท แต่ต้องระวังดี ดี ถ้าตกลงไปไม่มีคนช่วยนะ เพราะน้ำลึกมาก
งามแบบไทย ๆ ค่ะ
บ้านแบบไทย ๆ สามารถเข้าไปเยี่ยมชมได้
ใครไม่เคยเห็นฝรั่งขี้นกรีมาดูกันเร็วค่ะ
รูปนี้ถ่ายที่บ้านทรงไทยหลังงามค่ะ
กิจกรรมท่องเที่ยวภายในตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง - พายเรือชมทัศนียภาพ โดยทางตลาดน่ำมีเรือพายไว้คอยบริการราคาลำละ 40 บาท ต่อ 1 ชั่วโมง - ขี่จักรยานชมทัศนียภาพพื้นที่รอบเกาะบางกระเจ้า - นั่งรถม้าชมทัศนียภาพบริเวณ ตำบลบางน้ำผึ้ง - กิจกรรมเวที ดนตรีในสวน ฯลฯ
กด Play เพื่อให้วีดีโอเล่นนะค่ะ
กด Play ผู้ที่สนใจเดินทางเที่ยวชมตลาดน้ำบางน้ำผึ้งติดต่อได้ที่ 0879364734
โปรแกรมการท่องเที่ยว
1.กิจกรรมท่องเที่ยวาภายในตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง
- พายเรือชมทัศนียภาพ โดยทางตลาดน้ำมีเรือพายไว้คอยบริการราคาลำละ 40 บาท ต่อ 1 ชั่วโมง
- ขี่จักรยาน ท่านสามารถออกกำลังกายโดยการขี่จักรยานรณรงค์ลดภาวะโลกร้อนได้ พร้อมทั้งชมเกาะบางกระเจ้า ค่าบริการชม ครั้งละ 50 บาท
- นั่งรถม้าชมทัศนียภาพตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง
- กิจกรรมเวทีดนตรีในสวน นักท่องเที่ยวสามารถชมการแสดงเด็ก ๆ ในเทศกาลประเพณีต่าง ๆ ได้
- เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- มุมศิลปะในสวน
- กลุ่มนวดบางน้ำผึ้ง มีการบริการนวดแผนไทย หลังจากการเหน็ดเหนื่อยจากการเที่ยวชมตลาดน้ำ
2.กิจกรรมท่องเที่ยวในชุมชนบางน้ำผึ้ง
- ชมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง บ้านบางน้ำผึ้ง พร้อมกิจกรรมฐานความรู้ภายในหมู่บ้าน
- นั่งเรือชมหิ่งห้อยจำนวนมาก ณ ริมแม่น้ำเจ้าพระเจ้า
ที่พักนักท่องเที่ยว
- โฮมสเตย์ บางน้ำผึ้ง เป็นโฮมสเตย์ริมแม่น้ำเจ้าหระยา สัมผัสเย็นสบาย ใกล้ชิดธรรมชาติ
- บ้านพักอนุวัติ บ้านพักนักท่องเที่ยวริมแม่น้ำเจ้าพระยา
- ลองสเตย์บางน้ำผึ้ง บ้านสวนกลางน้ำพร้อมแอร์ และเครื่องทำน้ำอุ่น
เส้นทางการเดินทาง
1.จากสี่แยกบางนา ถ.สรรพาวุธ เมื่อสุดถนนสรรพาวุธนั่งเรือข้ามมายังวัดบางน้ำผึ้งใน หรือวัดบางน้ำผึ้งนอก แล้วนั่งรถมอเตอร์ไซค์ไปตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง
2.ขับรถมาทาง ถ.ปู่เจ้าสมิงพราย ขึ้นสะพานวงแหวนอุตสาหกรรมลงที่ ถ.สุขสวัสดิ์ ชิดซ้ายพบทางแยกเลี้ยวซ้าย มาตามทางเจอทางแยกเลี้ยวขวา ตรงวัดไพชยนต์ขับรถมาตามถนนเลี้ยวซ้ายภนนเพชรหึงษ์ ขับมาตามทางเลี้ยวขวาเพชรหึงษ์ 26 ขับรถ มาตามเส้นทางสังเกตซ้ายมือซุ้มวัดบางน้ำผึ้งใน
โปรแกรมการท่องเที่ยว
1.กิจกรรมท่องเที่ยวาภายในตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง
- พายเรือชมทัศนียภาพ โดยทางตลาดน้ำมีเรือพายไว้คอยบริการราคาลำละ 40 บาท ต่อ 1 ชั่วโมง
- ขี่จักรยาน ท่านสามารถออกกำลังกายโดยการขี่จักรยานรณรงค์ลดภาวะโลกร้อนได้ พร้อมทั้งชมเกาะบางกระเจ้า ค่าบริการชม ครั้งละ 50 บาท
- นั่งรถม้าชมทัศนียภาพตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง
- กิจกรรมเวทีดนตรีในสวน นักท่องเที่ยวสามารถชมการแสดงเด็ก ๆ ในเทศกาลประเพณีต่าง ๆ ได้
- เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- มุมศิลปะในสวน
- กลุ่มนวดบางน้ำผึ้ง มีการบริการนวดแผนไทย หลังจากการเหน็ดเหนื่อยจากการเที่ยวชมตลาดน้ำ
2.กิจกรรมท่องเที่ยวในชุมชนบางน้ำผึ้ง
- ชมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง บ้านบางน้ำผึ้ง พร้อมกิจกรรมฐานความรู้ภายในหมู่บ้าน
- นั่งเรือชมหิ่งห้อยจำนวนมาก ณ ริมแม่น้ำเจ้าพระเจ้า
ที่พักนักท่องเที่ยว
- โฮมสเตย์ บางน้ำผึ้ง เป็นโฮมสเตย์ริมแม่น้ำเจ้าหระยา สัมผัสเย็นสบาย ใกล้ชิดธรรมชาติ
- บ้านพักอนุวัติ บ้านพักนักท่องเที่ยวริมแม่น้ำเจ้าพระยา
- ลองสเตย์บางน้ำผึ้ง บ้านสวนกลางน้ำพร้อมแอร์ และเครื่องทำน้ำอุ่น
เส้นทางการเดินทาง
1.จากสี่แยกบางนา ถ.สรรพาวุธ เมื่อสุดถนนสรรพาวุธนั่งเรือข้ามมายังวัดบางน้ำผึ้งใน หรือวัดบางน้ำผึ้งนอก แล้วนั่งรถมอเตอร์ไซค์ไปตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง
2.ขับรถมาทาง ถ.ปู่เจ้าสมิงพราย ขึ้นสะพานวงแหวนอุตสาหกรรมลงที่ ถ.สุขสวัสดิ์ ชิดซ้ายพบทางแยกเลี้ยวซ้าย มาตามทางเจอทางแยกเลี้ยวขวา ตรงวัดไพชยนต์ขับรถมาตามถนนเลี้ยวซ้ายภนนเพชรหึงษ์ ขับมาตามทางเลี้ยวขวาเพชรหึงษ์ 26 ขับรถ มาตามเส้นทางสังเกตซ้ายมือซุ้มวัดบางน้ำผึ้งใน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)